เล่ม ๑๓ ทาน

ทาน

ความหมายของทาน
1. ทาน (การให้) เป็นอย่างไร
2. จาคะ (การบริจาค) เป็นอย่างไร

ทำไมจึงให้ทาน
3. ผลแห่งทานในปัจจุบันและสัมปรายะ
4. อานิสงส์แห่งการให้ทาน
5. ผู้ให้โภชนะ ชื่อว่า ให้อายุ วรรณะ สุขะ พละ และปฏิภาน
6. ผู้ให้ข้าวยาคู ก็ชื่อว่า ให้อายุ วรรณะ สุขะ พละ และปฏิภาน
7. ผู้ให้ของที่พอใจย่อมได้ของที่พอใจ
8. การให้ทานเป็นเหตุให้เกิดทรัพย์
9. ความต่างกันระหว่างผู้ให้และผู้ไม่ให้
10 . หากสัตว์ทั้งหลาย รู้ผลแห่งการจำแนกทาน
11 . สังคหวัตถุ (ธรรมเป็นที่ตั้งแห่งการสงเคราะห์)
12 . ธรรมที่บัณฑิตบัญญัติไว้
13 . ลักษณะผู้มีศรัทธาเลื่อมใส
14 . ปฏิปทาสมควรแก่คฤหัสถ์
15 . การเกี่ยวข้องกันของนักบวชกับคฤหัสถ์
16 . หลักในการจัดสรรทรัพย์
17 . การใช้สอยโภคทรัพย์โดยไม่สูญเปล่า
18 . หลักดำรงชีพเพื่อประโยชน์สุขในสัมปรายะ
19 . การสงเคราะห์ผู้ล่วงลับ
20 . การสงเคราะห์เทวดา
21 . ความตระหนี่ ขวางกั้นการทำให้แจ้งซึ่งมรรคผล
22 . ความตระหนี่คือมลทิน
23 . เหตุให้ไปนรก-สวรรค์
24 . วิบากของคนตระหนี่และไม่ตระหนี่
25 . ทรัพย์ในอริยวินัย (นัยที่ ๑)
26 . ทรัพย์ในอริยวินัย (นัยที่ ๒)
27 . ประโยชน์ของการสร้างวิหาร
28 . จาคานุสสติ

เหตุเกิดขึ้นแห่งทาน
29 . เหตุในการให้ทาน (นัยที่ ๑)
30 . เหตุในการให้ทาน (นัยที่ ๒)
31 . เหตุในการให้ทาน (นัยที่ ๓)
32 . เหตุในการให้ทาน (นัยที่ ๔)

ผล/อานิสงส์ของทานแบบต่างๆ
33 . ผลแห่งทาน
34 . มหาทาน
35 . สัดส่วนของทาน ศีล ภาวนา
36 . ความสงสัยในทานของเทวดา
37 . ผู้ประสบบุญเป็นอันมาก
38 . ผลของการต้อนรับบรรพชิตด้วยวิธีที่ต่างกัน
39 . ทานที่ให้แล้วมีผลน้อย

ทานของอสัปบุรุษและสัปบุรุษ
40 . ทานของคนไม่ดี หรือ ทานของคนดี
41 . ทานของคนดี (นัยที่ ๑)
42 . ทานของคนดี (นัยที่ ๒)
43 . ประโยชน์เกื้อกูลของสัปบุรุษ
44 . กลิ่นที่หอมทวนลม

ผลกระทบทั้งดีและไม่ดีจากการให้ทานมีไหม
45 . สังคมเลว เพราะคนดีอ่อนแอ
46 . หลักการกำจัดเสี้ยนหนาม (คนไม่ดี)
47 . กรณีศึกษา เรื่องภิกษุชาวกรุงโกสัมพีแตกสามัคคีกัน

ควรให้ทานที่ใด
48 . ควรให้ทานในที่ใด (นัยที่ ๑)
49 . ควรให้ทานในที่ใด (นัยที่ ๒)
50 . ไม่ควรห้ามผู้อื่นให้ทาน
51 . นาดี หรือ นาเลว
52 . ผู้รับทาน กับผลที่ได้ (นัยที่ ๑)
53 . ผู้รับทาน กับผลที่ได้ (นัยที่ ๒)

องค์ประกอบของทานที่ให้แล้วมีผลมาก
54 . องค์ประกอบของทานที่ให้แล้วมีผลมาก (นัยที่ ๑)
55 . องค์ประกอบของทานที่ให้แล้วมีผลมาก (นัยที่ ๒)
56 . การวางจิตเมื่อให้ทาน
57 . ผลของทานกับผู้รับ
58 . ผู้ควรรับทักษิณา (นัยที่ ๑)
59 . ผู้ควรรับทักษิณา (นัยที่ ๒)
60 . ผู้ควรรับทักษิณา (นัยที่ ๓)
61 . ผู้ควรรับทักษิณา (นัยที่ ๔)
62 . ผู้ควรรับทักษิณา (นัยที่ ๕)
63 . ผู้ควรรับทักษิณา (นัยที่ ๖)
64 . ผู้ควรรับทักษิณา (นัยที่ ๗)
65 . ผู้ควรรับทักษิณา (นัยที่ ๘)
66 . ผู้ควรรับทักษิณา (นัยที่ ๙)
67 . ผู้ควรรับทักษิณา (นัยที่ ๑๐)
68 . ผู้ควรรับทักษิณา (นัยที่ ๑๑)
69 . ผู้ควรรับทักษิณา (นัยที่ ๑๒)
70 . ผู้ควรรับทักษิณา (นัยที่ ๑๓)
71 . ผู้ควรรับทักษิณา (นัยที่ ๑๔)
72 . ผู้ควรรับทักษิณา (นัยที่ ๑๕)
73 . ลักษณะของภิกษุผู้มีศีล

การให้ทานอันเป็นอริยะ
74 . ธรรมทานเลิศกว่าอามิสทาน
75 . ธรรมทานเลิศกว่าทานทั้งหลาย
76 . การให้ทานอันเป็นอริยะ (นัยที่ ๑)
77 . การให้ทานอันเป็นอริยะ (นัยที่ ๒)
78 . การให้ทานอันเป็นอริยะ (นัยที่ ๓)
79 . สิ่งที่ประเสริฐกว่าทาน

ภาคผนวก
80 . เจริญเมตตาจิตมีผลมากกว่าให้ทาน
81 . ผลของการเจริญเมตตา
82 . วิธีการเจริญเมตตาและการเจริญพรหมวิหาร
83 . การรับที่ไม่เป็นธรรม หรือ การรับที่เป็นธรรม
84 . การเกี่ยวข้องกับเงินทองของภิกษุ
85 . ข้อปฎิบัติในการอนุโมทนาของภิกษุ
86 . ข้อปฏิบัติในการขอสิ่งของ ต่อผู้ปวารณาของภิกขุ
87 . เหตุให้ค้าขายได้กำไร หรือ ขาดทุน
88 . เหตุแห่งความเจริญขึ้นและความถูกทำลายแห่งสกุล
 
*******


ภิกษุทั้งหลาย ! ถ้าว่าสัตว์ทั้งหลายพึงรู้ผลแห่งการจำแนกทาน
เหมือนอย่างเรารู้ไซร้ 
หากสัตว์เหล่านั้น ยังไม่ได้ให้ทานเสียก่อนก็จะไม่พึงบริโภค 
อนึ่ง มลทินคือความตระหนี่จะไม่พึงครอบงำจิตของสัตว์เหล่านั้น

แม้คำข้าวคือก้อนข้าวของสัตว์เหล่านั้น
จะพึงเหลืออยู่คำสุดท้ายก็ตาม
ถ้าปฏิคาหกของพวกเขายังมีอยู่
หากสัตว์เหล่านั้นยังไม่ได้แบ่งคำข้าวคำสุดท้ายแม้นั้น
ก็จะไม่บริโภค.

ภิกษุทั้งหลาย ! แต่เพราะสัตว์ทั้งหลายไม่รู้ผลแห่งการจำแนกทาน
เหมือนอย่างเรารู้ ฉะนั้นสัตว์เหล่านั้นจึงไม่ได้ให้ทานก่อนบริโภค อนึ่ง มลทิน
คือความตระหนี่ จึงยังครอบงำจิตของสัตว์เหล่านั้น

บาลี ขุ.ขุ ๒๕/๒๔๓/๒๐๔

10 ความคิดเห็น:

  1. สาธุ สาธุ สาธุ ค่ะ

    ตอบลบ
  2. การยึดติดคำสอน ไม่รู้ปล่อยวาง เป็นสัญญา ควรระวัง

    ตอบลบ
  3. ทานคืออุบายชองการปล่อยวาง และสร้างกรรมดี

    ตอบลบ
  4. พุทธองค์ไม่ได้สอนคนไห่ขึ้นสวรรค์แต่การสอนไม่ผิดจะไช้คำว่าไม่ใช่ทาง พุทธสอนคนให้เป๋นคนและเกิดใหม่เป็นคน การไปสวรรค์ก๋ไม่ผิด แต่หนทาง ยาวไกลกว่านิพาน มาเป็นมนุษย์หนทางสั้น ทีไปนิพานได้คือ มนุษย์ กับ พรหม

    ตอบลบ
  5. ห้องธรรม รู้ตนเอง รู้อดีด รู้อนาคต (นิพาน) ปัญญา(

    ตอบลบ
  6. ขันธ์5 รูป นาม เวทนา วิณญาณ สัญญา

    ตอบลบ
  7. ทาน คือการไห่ แต่แท้จริงแล้ว ทาน เป็นอุบายของการปล่อยวาง และ สร้างกรรมดี เพือจรรโรงสังคม และไห้มนุษย์ ต่างจากสัพสัตว์ ทั่วไป ขันธ์ 5 คือตัวตนของแต่ละคน ผู้ที่จะปั้นรูปได้ มี มนุษย์กับ พรหม ความรู้เราเรียนไม่ไช่ปัญญา แต่เป็น สัญญา เพราะเรียนทันกันได้ ปัญญาแท้จริงไม่สินสุดคือ ผีหรือเหล่าเทพ ถ้าเราถึงเขา เขาจะมาสอนหนือบอกเราเอง

    ตอบลบ