เล่ม ๑๔ ตถาคต


สารบัญ

เรื่องที่ควรทราบก่อน
1. เรื่องย่อ ที่ควรทราบก่อน
2. การปรากฏของพระตถาคต มีได้ยากในโลก
3. การปรากฏของพระตถาคต มีได้ยากในโลก (นัยที่ ๒)
4. โลกธาตุหนึ่ง มีพระพุทธเจ้าเพียงองค์เดียว
5. การบังเกิดขึ้นของตถาคต คือความปรากฏขึ้นแห่งแสงสว่าง
6. ธรรมชาติ ๓ อย่าง ทำให้ พระองค์เกิดขึ้นเป็นประทีปของโลก
7. การมีธรรมของพระตถาคตอยู่ในโลก คือความสุขของโลก
8. พระตถาคตเกิดขึ้น เพื่อความสุขของโลก
9. ผู้เชื่อฟังพระตถาคต จะได้รับประโยชน์สุขสิ้นกาลนาน
10 . การบังเกิดขึ้นของตถาคต ไม่ได้กระทบต่อกฎของธรรมชาติ
11 . ทรงขนานนามพระองค์เองว่า “พุทธะ”
12 . เหตุที่ทำให้ได้พระนามว่า “อรหันตสัมมาสัมพุทธะ”
13 . เหตุที่ทำให้ได้พระนามว่า “อรหันตสัมมาสัมพุทธะ” (นัยที่ ๒)
14 . ทรงขนานนามพระองค์เองว่า “ตถาคต”
15 . เหตุที่ทำให้ทรงพระนามว่า “ตถาคต”
16 . ทรงพระนามว่า “ตถาคต” เพราะทรงเป็นกาลวาที ภูตวาที
17 . เหตุที่ทำให้ได้พระนามว่า “อนุตตรปุริสทัมมสารถิ”
18 . ไวพจน์แห่งคำว่า “ตถาคต”

เรื่องตั้งแต่ก่อนประสูติจนถึงก่อนบรรพชา
19 . การเกิดแห่งวงศ์สากยะ
20 . การอยู่ในหมู่เทพชั้นดุสิต
21 . การจุติจากดุสิตลงสู่ครรภ์
22 . เกิดแสงสว่าง เนื่องด้วยการจุติจากดุสิต
23 . แผ่นดินไหว เนื่องด้วยการจุติ
24 . การลงสู่ครรภ์
25 . การอยู่ในครรภ์
26 . การประสูติ
27 . เกิดแสงสว่าง เนื่องด้วยการประสูติ
28 . แผ่นดินไหว เนื่องด้วยการประสูติ
29 . ประกอบด้วยมหาปุริสลักขณะ
30 . ประสูติได้ ๗ วัน พระชนนีทิวงคต
31 . ทรงได้รับการบำเรอ
32 . กามสุขกับความหน่าย
33 . ทรงหลงกามและหลุดจากกาม
34 . ความรู้สึก ที่ถึงกับทำให้ออกผนวช

เริ่มแต่ออกบรรพชาแล้วเที่ยวเสาะแสวงหาความรู้
ทรมานพระองค์ จนได้ตรัสรู้

35 . การออกบรรพชา
36 . เสด็จสำนักอาฬารดาบส
37 . เสด็จสำนักอุทกดาบส
38 . ทรงพบสถานที่ประกอบความเพียร
39 . อุปมาปรากฏแจ่มแจ้ง
40 . บำเพ็ญทุกรกิริยา
41 . ทรงประพฤติอัตตกิลมถานุโยค (วัตรของเดียรถีย์)
42 . ทรงแน่พระทัยว่าไม่อาจตรัสรู้เพราะ การทำทุกรกิริยา
43 . ทรงกลับพระทัยฉันอาหารหยาบ
44 . ปัญจวัคคีย์หลีกไป
45 . ความฝันครั้งสำคัญ ก่อนตรัสรู้
46 . ทรงทำลายความขลาด ก่อนตรัสรู้
47 . ทรงกั้นจิตจากกามคุณในอดีต ก่อนตรัสรู้
48 . ทรงคอยควบคุมวิตก ก่อนตรัสรู้
49 . ทรงค้นวิธีแห่งอิทธิบาท ก่อนตรัสรู้
50 . ธรรมที่ทรงอบรมอย่างมาก ก่อนตรัสรู้
51 . ทรงพยายามในเนกขัมมจิต
และอนุปุพพวิหารสมาบัติ ก่อนตรัสรู้
52 . ทรงกำหนดสมาธินิมิต ก่อนตรัสรู้
53 . วิหารธรรมที่ทรงอยู่มากที่สุด ก่อนตรัสรู้
54 . ทรงคิดค้นเรื่องเบญจขันธ์ ก่อนตรัสรู้
55 . ทรงคิดค้นเรื่องเวทนาโดยละเอียด ก่อนตรัสรู้
56 . ทรงเที่ยวแสวงหาเพื่อความตรัสรู้
57 . ทรงแสวงหาเนื่องด้วยเบญจขันธ์ ก่อนตรัสรู้
58 . ทรงค้นลูกโซ่แห่งทุกข์ ก่อนตรัสรู้
59 . ทรงค้นลูกโซ่แห่งทุกข์ ก่อนตรัสรู้ (อีกนัยหนึ่ง)
60 . ทรงอธิษฐานความเพียร ก่อนตรัสรู้
61 . อาการแห่งการตรัสรู้
62 . สิ่งที่ตรัสรู้
63 . การรู้สึกพระองค์ว่าได้ตรัสรู้แล้ว
64 . การตรัสรู้คือการทับรอยแห่งพระพุทธเจ้าในอดีต
65 . เกิดแสงสว่าง เนื่องด้วยการตรัสรู้
66 . แผ่นดินไหว เนื่องด้วยการตรัสรู้
67 . ทรงเป็นศาสดาประเภทตรัสรู้เอง
68 . ทรงคิดหาที่พึ่งสำหรับพระองค์เอง

ทรงเผยแผ่พระศาสนา
69 . ทรงท้อพระทัยในการแสดงธรรม
70 . ทรงเห็นสัตว์ดุจดอกบัว ๓ เหล่า
71 . ทรงแสดงธรรมเพราะเห็น ความจำเป็นของสัตว์บางพวก
72 . ทรงเห็นลู่ทางที่จะช่วยเหลือปวงสัตว์
73 . มารทูลให้นิพพาน
74 . ทรงระลึกหาผู้รับปฐมเทศนา
75 . เสด็จพาราณสี - พบอุปกาชีวก
76 . การโปรดปัญจวัคคีย์ หรือ การแสดงปฐมเทศนา
77 . ทรงประกาศธรรมจักรที่ อิสิปตนมฤคทายวัน
78 . เกิดแสงสว่าง เนื่องด้วยการแสดงธรรมจักร
79 . แผ่นดินไหว เนื่องด้วยการแสดงธรรมจักร
80 . จักรของพระองค์ไม่มีใครต้านทานได้
81 . ทรงหมุนแต่จักรที่มีธรรมราชา (เป็นเจ้าของ)
82 . ส่งสาวกออกประกาศพระศาสนา
83 . อาการที่ทรงแสดงธรรม
84 . สมาธินิมิตในขณะที่ทรงแสดงธรรม
85 . ทรงแสดงธรรมด้วยความระมัดระวังอย่างยิ่ง
86 . ทรงมีธรรมสีหนาทที่ทำเทวโลกให้สั่นสะเทือน
87 . ทรงมีธรรมสีหนาทอย่างองอาจ
88 . ทรงสอนเช่นเดียวกับ พระพุทธเจ้าทั้งปวง
89 . ทรงบริหารสงฆ์ จำนวนร้อย
90 . คำของพระองค์ ตรงเป็นอันเดียวกันหมด
91 . หลักที่ทรงใช้ในการตรัส (๖ อย่าง)
92 . ทรงมีการกล่าวที่ไม่ขัดแย้งกับบัณฑิตชนในโลก
93 . ทรงสอนเฉพาะแต่เรื่องทุกข์ กับความดับสนิทของทุกข์
94 . สิ่งที่ตรัสรู้แต่ไม่ทรงนำมาสอน
มีมากกว่าที่ทรงนำมาสอนมากนัก
95 . ทรงยืนยันเอง และทรงให้สาวกยืนยันว่ามีสมณะในธรรมวินัยนี้
96 . ส่วนที่สาวกเข้มงวดกว่าพระองค์
97 . เหตุที่ทำให้มีผู้มาเป็นสาวกของพระองค์
98 . ประโยชน์ที่มุ่งหมายของพรหมจรรย์
99 . ทรงเสพเสนาสนะป่าเรื่อยไป เพื่อให้เป็นตัวอย่าง
100 . ทรงฉันวันละหนเดียว
101 . ทรงมีการประทม อย่างตถาคต
102 . วิหารธรรมที่ทรงอยู่มากตลอดพรรษา
103 . สิ่งที่ใครๆ ไม่อาจท้วงติงได้
104 . ทรงมีวิธี “รุก” ข้าศึกให้แพ้ภัยตัว
105 . ทรงข่มสัจจกนิครนถ์
106 . เหตุให้ทรงบัญญัติวินัย
107 . เหตุที่ทำให้เกิดการแสดงปาติโมกข์
108 . เหตุที่ไม่ทำอุโบสถกับสาวกอีกต่อไป
109 . เมื่อหมู่สัตว์เลวลง สิกขาบทมีมาก ผู้ตั้งอยู่ในอรหัตผลมีน้อย
110 . ความวิวาทที่เป็นไปเพื่อความทุกข์ แก่เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย

การปรินิพพาน
111 . ทรงมีความชราทางกายภาพเหมือนคนทั่วไป
112 . ทรงบังเกิดขึ้นเพื่ออนุเคราะห์โลก
113 . ทรงทำหน้าที่พระพุทธเจ้าบริบูรณ์แล้ว
114 . พรหมจรรย์ของพระองค์ บริบูรณ์ด้วยอาการทั้งปวง
115 . ทรงหวังให้ช่วยกันทำความมั่นคง แก่พรหมจรรย์
116 . ทรงปลงอายุสังขาร
117 . ทรงให้มีตนและธรรมเป็นที่พึ่ง
118 . แผ่นดินไหว เนื่องด้วยการปลงอายุสังขาร
119 . ทรงมุ่งหวังประโยชน์แก่สาวก
120 . หลักตัดสินธรรมวินัย ๔ ประการ
121 . เหตุแห่งความเจริญ ไม่เสื่อม
122 . อย่าเป็นบุรุษคนสุดท้าย
123 . เสวยสูกรมัททวะ
124 . ผลแห่งการถวายบิณฑบาต ที่มีผลยิ่งยอดกว่าบิณฑบาตอื่นๆ
125 . การปรินิพพานหรือ การประทับสีหเสยยาครั้งสุดท้าย
126 . แผ่นดินไหว เนื่องด้วยการปรินิพพาน
127 . การปรินิพพานของพระองค์ คือความทุกข์ร้อนของมหาชน
128 . หลังปรินิพพาน เทวดาและมนุษย์จะไม่เห็นตถาคตอีก
129 . สังเวชนียสถานภายหลัง พุทธปรินิพพาน
130 . สถานที่ที่ควรจะระลึกตลอดชีวิต

ลักษณะพิเศษของตถาคต

131 . ทรงมีตถาคตพละสิบอย่าง
132 . ทรงทราบความยิ่งและหย่อน แห่งอินทรีย์ของสัตว์
133 . ทรงทราบความยิ่งและหย่อน แห่งอินทรีย์ของสัตว์ (นัยที่ ๒)
134 . ทรงพยากรณ์แล้วเป็นหนึ่งไม่มีสอง
135 . ทรงทราบคติ ๕ และอุปมาการเห็นคติ
136 . ทรงมีเวสารัชชญาณสี่อย่าง
137 . ทรงมีอิทธิบาทเพื่ออยู่ได้ถึงกัปป์
138 . ทรงแสดงฤทธิ์ได้ เพราะอิทธิบาทสี่
139 . ทรงมีปาฏิหาริย์สามอย่าง
140 . ทรงเปล่งเสียงคราวเดียว ได้ยินตลอดทุกโลกธาตุ
141 . ความหมายของสัพพัญญูที่แท้จริง
142 . ไม่ทรงมีความลับ ที่ต้องให้ใครช่วยปกปิด
143 . สิ่งที่พระองค์ไม่ต้องสำรวมรักษา
144 . ทรงยืนยันในคุณธรรมของพระองค์
145 . ทรงบังคับใจได้เด็ดขาด
146 . ทรงมีความคงที่ต่อวิสัยโลก ไม่มีใครยิ่งกว่า
147 . ทรงทราบ ทรงเปิดเผย แต่ไม่ทรงติดซึ่งโลกธรรม
148 . ทรงต่างจากเทวดาและมนุษย์
149 . ไม่ทรงติดแม้ในนิพพาน

เรื่องที่ทรงตรัสเกี่ยวกับอดีตชาติของพระองค์
150 . ต้องท่องเที่ยวมาแล้ว เพราะไม่รู้อริยสัจจ์
151 . ตลอดสังสารวัฎ ไม่เคยบังเกิดในชั้นสุทธาวาส
152 . ตลอดสังสารวัฏเคยบูชายัญญ์ และบำเรอไฟแล้วอย่างมาก
153 . เคยบังเกิดเป็นมหาพรหม สักกะ
154 . เคยบังเกิดเป็นพระเจ้าจักรพรรดิ พระนามว่ามฆเทวะ
155 . เคยบังเกิดเป็นพระเจ้าจักรพรรดิ พระนามว่ามหาสุทัศน์
156 . เคยบังเกิดเป็นพราหมณ์ปุโรหิต สอนการบูชายัญญ์
157 . เคยบังเกิดเป็นพราหมณ์ ชื่อเวลามะ
158 . เคยบังเกิดเป็นช่างทำรถ
159 . บุรพกรรมของการได้ลักษณะมหาบุรุษ

1 ความคิดเห็น:

  1. อนุโมทนาสาธุครับ
    ดูเหมือนเล่มนี้จะยังไม่เสร็จ จะเข้ามาดูบ่อยๆครับ

    ตอบลบ