เล่ม ๑๒ เดรัจฉานวิชา


เดรัจฉานวิชา คืออะไร

1. อะไรคือเดรัจฉานวิชา
2. พระพุทธเจ้า เว้นขาดจากการทำเดรัจฉานวิชา
3. ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เว้นขาดจากการทำเดรัจฉานวิชา
4. อะไรคือเดรัจฉานกถา
5. พระพุทธเจ้า เว้นขาดจากเดรัจฉานกถา
6. ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เว้นขาดจากเดรัจฉานกถา


เดรัจฉานวิชา ไม่ใช่อิทธิปาฏิหาริย์

7. ปาฏิหาริย์ ๓ อย่าง
8. พระสัมมาสัมพุทธะ อึดอัด ขยะแขยง เกลียดชังอิทธิปาฏิหาริย์ และอาเทสนาปาฏิหาริย์
หลักปฏิบัติของภิกษุ ต่อ อิทธิปาฏิหาริย์และ คุณวิเศษอื่นๆ
9. พระสัมมาสัมพุทธะ ห้ามภิกษุแสดงอิทธิปาฏิหาริย์
10 . พระสัมมาสัมพุทธะ ห้ามภิกษุแกล้งบอกคุณวิเศษที่ตนเองไม่มี
11 . พระสัมมาสัมพุทธะ ห้ามภิกษุบอกคุณวิเศษให้กับผู้ที่ไม่ใช่นักบวช
12 . พระสัมมาสัมพุทธะ ห้ามพยากรณ์(ทำนายทายทัก) บุคคลอื่น
13 . มหาโจร ๕ จำพวก

อริยบุคคล ไม่ทำเดรัจฉานวิชา
14 . อริยบุคคล จะเจตนางดเว้นจากมิจฉาอาชีวะ ฐานะที่เป็นไปไม่ได้ ของโสดาบัน
15 . ฐานะที่เป็นไปไม่ได้ของโสดาบัน นัยที่ ๑
16 . ฐานะที่เป็นไปไม่ได้ของโสดาบัน นัยที่ ๒
17 . ฐานะที่เป็นไปไม่ได้ของโสดาบัน นัยที่ ๓
18 . ฐานะที่เป็นไปไม่ได้ของโสดาบัน นัยที่ ๔
19 . อานิสงส์แห่งการทำให้แจ้ง ซึ่งโสดาปัตติผล
20 . ความเข้าใจผิดเรื่องกรรม 3 แบบ ที่อริยบุคคลจะต้องละได้
เชื่อว่าสุขและทุกข์ เกิดจากกรรมเก่าอย่างเดียว
เชื่อว่าสุขและทุกข์เกิดจากเทพเจ้าบันดาลให้
เชื่อว่าสุขและทุกข์เกิดขึ้นเองลอยๆไม่มีอะไรเป็นเหตุ เป็นปัจจัย
21 . อนุตตริยะ ๖ (สิ่งที่ประเสริฐ ๖ ประการ)
22 . ลักษณะแห่งศรัทธาของผู้มีศรัทธา

อริยบุคคล จะปฏิบัติตามสิ่งที่พระศาสดาบัญญัติ
23 . พระสัมมาสัมพุทธะ บัญญัติให้ภิกษุ
ฉันอาหารวันหนึ่งเพียงหนเดียว
24 . อริยสาวกทั้งหลายยอมเสียชีวิตแต่ไม่ยอมก้าวล่วงสิกขาบท

เครื่องเศร้าหมองของสมณพราหมณ์
25 . เครื่องเศร้าหมองของสมณพราหมณ์

ศีลที่เป็นอกุศล คือ การเลี้ยงชีพชั่ว
26 . ศีลที่เป็นอกุศล คือ การเลี้ยงชีพชั่ว

ภาคผนวก
27 . หลักปฏิบัติต่อคำสอน ของสัมมาสัมพุทธะ
28 . หลักปฏิบัติต่อคำแต่งใหม่
29 . การเข้าไปสนใจคำแต่งใหม่มีผลให้คำตถาคตอันตรธานหายไป
30 . ผู้ทำสัทธรรมให้อันตรธาน นัยที่ ๑
31 . ผู้ทำสัทธรรมให้ดำรงอยู่ นัยที่ ๑
32 . ผู้ทำสัทธรรมให้อันตรธาน นัยที่ ๒
33 . ผู้ทำสัทธรรมให้ดำรงอยู่ นัยที่ ๒
34 . มูลเหตุแห่งการวิวาท
35 . ผู้เรียกร้องหาศาสดา เพื่อความเป็นมิตร หรือศัตรู
36 . ขีดจำกัดของสาวก เทียบกับ สัมมาสัมพุทธะ
37 . อะไรคือใบไม้ในป่า อะไรคือใบไม้ในกำมือ
38 . การบอกสอนมนต์มาจากไหน
39 . การสาธยายธรรมในแบบพระศาสดา เป็นไปเพื่อวิมุตติ

ที่มาที่ไปของประเพณีผิด อันเกิดจากคำแต่งใหม่
40 . ความเข้าใจผิดเกี่ยวกับ อานิสงส์การสร้างพระพุทธรูป
41 . ความเข้าใจผิดเกี่ยวกับ การฟังเทศน์มหาชาติ
พระสัมมาสัมพุทธะ นามว่าเมตเตยยะ โดยพุทธวจน
พระสัมมาสัมพุทธะ นามว่าเมตเตยยะ โดยคำแต่งใหม่
42 . ความเข้าใจผิด เกี่ยวกับการกรวดน้ำอุทิศบุญ
43 . ความเขา้ ใจผดิ เกีย่ วกบั การทำน้ำมนต์
44 . ความเข้าใจผิด เกี่ยวกับอานิสงส์ของการสวดมนต์
45 . บทสวดมนต์ยอดนิยม เป็นคำแต่งใหม่
บทสวดสัพพมังคลคาถา เป็นคำแต่งใหม่
บทสวดพาหุง (พุทธชัยมังคลคาถา) เป็นคำแต่งใหม่
คาถาชินบัญชร เป็นคำแต่งใหม่
บทสวดอภยปริตร เป็นคำแต่งใหม่
บทสวดอาฏานาฏิยปริตร เป็นคำแต่งใหม่
บทสวดโพชฌงคปริตร เป็นคำแต่งใหม่
บทสวดชัยปริตร เป็นคำแต่งใหม่
บทสวดอุทิศบุญกุศล (ปัตติทานคาถา) เป็นคำแต่งใหม่

ทางออกของผู้ประพฤติมิจฉาทิฏฐิไปแล้ว
46 . กรณีของภิกษุ
หากเห็นโทษโดยความเป็นโทษ ให้ทำคืนตามธรรม

ข้อควรปฏิบัติของภิกษุเมื่อเข้าบ้าน
สิ่งที่ภิกษุควรทำเมื่ออยู่ร่วมกัน
47 . ข้อที่ภิกษุควรพิจารณาให้มาก
ผู้สร้างสุขหรือสร้างทุกข์ให้แก่มหาชน นัยที่ ๑

ผู้สร้างสุขหรือสร้างทุกข์ให้แก่มหาชน นัยที่ ๒
ลักษณะแบบใด คือ คนของสัมมาสัมพุทธะ
ได้ชื่อว่าเป็นภิกษุ ไม่ใช่เพราะเครื่องแบบ
ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นตถาคต
ลักษณะของผู้อยู่ในอริยวงศ์
48 . กรณีของคฤหัสถ์
หากเห็นโทษโดยความเป็นโทษ ให้ทำคืนตามธรรม
ลักษณะการเกี่ยวข้องกับนักบวช
ผู้จัดว่าเป็นอุบาสกจัณฑาล
ผู้จัดว่าเป็นอุบาสกรัตนะ
การให้ทาน เป็นเหตุให้เกิดทรัพย์
สังคมเลว เพราะคนดีอ่อนแอ
หลักการกำจัดเสี้ยนหนาม (คนไม่ดี)
กรณีศึกษาเรื่องภิกษุชาวกรุงโกสัมพีแตกสามัคคีกัน

บทส่งท้าย
49 . การเกี่ยวข้องกันของนักบวชกับคฤหัสถ์
50 . สิ่งที่ใครๆ ในโลกไม่ได้ตามปราถนา
51 . เหตุให้สำเร็จตามปรารถนา นัยที่ ๑
52 . เหตุให้สำเร็จตามปรารถนา นัยที่ ๒
53 . เทวดาไหว้ใคร
54 . ฤกษ์ดี ยามดี ในแบบพุทธวจน
55 . ที่พึ่งผิด ที่พึ่งถูก
56 . พิธีปลงบาปในอริยวินัย นัยที่ ๑
57 . พิธีปลงบาปในอริยวินัย นัยที่ ๒
58 . พิธีปลงบาปอันเป็นอริยะ นัยที่ ๑
59 . พิธีปลงบาปอันเป็นอริยะ นัยที่ ๒


4 ความคิดเห็น:

  1. ผู้เห็นความเกิดและความเสื่อม มีชีวิตอยู่เพียงราตรีเดียว ดีวก่าผู้ไม่เห็นมีชีวิตอยู่ร้อยปี

    ตอบลบ
    คำตอบ
    1. ใช่คับ..ผู้รู้ย่อมรู้ได้ด้วยตนเอง

      ลบ
  2. ผู้เห็นความเกิดและความเสื่อม มีชีวิตอยู่เพียงราตรีเดียว ดีวก่าผู้ไม่เห็นมีชีวิตอยู่ร้อยปี

    ตอบลบ