เล่ม ๑๗ จิต มโน วิญญาณ

 



สารบัญ

จิต มโน วิญญาณ (พระสูตรที่ควรทราบ)

1. จิต มโน วิญญาณ ดวงหนึ่งเกิดขึ้น ดวงหนึ่งดับไป 
2. ทิฏฐิว่า จิต มโน วิญญาณ เป็นของเที่ยง 
3. จิตดวงแรกเกิดขึ้น วิญญาณดวงแรกปรากฏ 
4. ความเกิดแห่งจิตย่อมมี เพราะความเกิดแห่งนามรูป 
5. ความเกิดขึ้นแห่งวิญญาณย่อมมี เพราะความเกิดขึ้นแห่งนามรูป 
6. เพราะวิญญาณเป็นปัจจัย จึงมีนามรูป 
7. เพราะนามรูปเป็นปัจจัย จึงมีวิญญาณ 
8. เพราะสังขารเป็นปัจจัย จึงมีวิญญาณ 
9. นามรูป ปัจจัยแห่งการบัญญัติ วิญญาณขันธ์ 
10 . วิญญาณ ตั้งอยู่ได้ในที่ใด การก้าวลงแห่งนามรูป ก็มีอยู่ในที่นั้น(อุปมาด้วยแสงกับฉาก) 
11 . รายละเอียดของนามรูป 
12 . รายละเอียดของสังขาร (นัยที่ ๑) 
13 . รายละเอียดของสังขาร (นัยที่ ๒) 
14 . รายละเอียดของสังขาร (นัยที่ ๓) 
15 . รายละเอียดของสังขาร (นัยที่ ๔) 
16 . รายละเอียดของสังขาร (นัยที่ ๕) 
17 . วิญญาณฐิติ (ที่ตั้งอยู่ของวิญญาณ) 
18 . อารมณ์เพื่อการตั้งอยู่แห่งวิญญาณ (นัยที่ ๑) 
19 . อารมณ์เพื่อการตั้งอยู่แห่งวิญญาณ (นัยที่ ๒) 
20 . อารมณ์เพื่อการตั้งอยู่แห่งวิญญาณ (นัยที่ ๓) 
21 . การตั้งอยู่ของวิญญาณ คือ การบังเกิดในภพใหม่ 
22 . การตั้งอยู่ของความเจตนา หรือความปรารถนาคือ การบังเกิดในภพใหม่ 
23 . ภพ ๓ 
24 . เครื่องนำไปสู่ภพ 
25 . เหตุที่เรียกว่า “สัตว์” 
26 . ผลที่ไม่น่าปรารถนา หรือน่าปรารถนา

“จิต”

27 . จิต เปลี่ยนแปลงได้เร็ว 
28 . จิต เป็นธรรมชาติกลับกลอก 
29 . จิต อบรมได้ 
30 . จิต ฝึกได้ 
31 . จิตผ่องใส 
32 . จิตประภัสสร 
33 . จิตผ่องแผ้ว 
34 . ผลของการไม่รักษา หรือรักษาจิต 
35 . ผลเมื่อจิตถึงความพินาศ 
36 . จิตตมโน จิตตสังกัปโป 
37 . อริยมรรคมีองค์ ๘ เป็นเครื่องรองรับจิต 
38 . เห็นจิตในจิต (นัยสติปัฏฐานสูตร) 
39 . เห็นจิตในจิต (นัยอานาปานสติสูตร) 
40 . จิตหลุดพ้น (นัยที่ ๑) 
41 . จิตหลุดพ้น (นัยที่ ๒) 
42 . จิตหลุดพ้น (นัยที่ ๓) 
43 . จิตที่หลุดพ้นดีแล้ว 
44 . ผู้มีจิตอันหลุดพ้นแล้วด้วยดี 
45 . การเข้าไปหา เป็นความไม่หลุดพ้นการไม่เข้าไปหา เป็นความหลุดพ้น 
46 . การน้อมใจเพื่อตัดโอรัมภาคิยสังโยชน์ 
47 . เหตุให้วิชชาและวิมุตติบริบูรณ์ 
48 . ความแตกต่างระหว่าง อรหันตสัมมาสัมพุทธะกับภิกษุปัญญาวิมุตติ

“มโน”
49 . มโน คือ ส่วนแห่งอายตนะภายใน 
50 . อกุศลธรรม-กุศลธรรม มีมโนเป็นหัวหน้า 
51 . ธรรมทั้งหลาย มีมโนเป็นหัวหน้า
52 . มโนสังขาร (นัยที่ ๑) 
53 . มโนสังขาร (นัยที่ ๒) 
54 . มโนวิตก 
55 . กรรม ๔ แบบ (นัยที่ ๑) 
56 . กรรม ๔ แบบ (นัยที่ ๒) 
57 . กรรม ๔ แบบ (นัยที่ ๓) 
58 . กรรม ๔ แบบ (นัยที่ ๔) 
59 . กรรม ๔ แบบ (นัยที่ ๕) 
60 . การได้อัตภาพ
61 . เหตุให้เจริญไม่เสื่อม (อปริหานิยธรรม)
62 . เหตุให้ระลึกถึง รัก เคารพ ไม่วิวาทและพร้อมเพรียงกัน (สาราณียธรรม)
63 . เหตุแห่งความแตกแยก
64 . ความพลัดพรากจากของรักของชอบใจย่อมมี
65 . คนพาล-บัณฑิต (นัยที่ ๑)
66 . คนพาล-บัณฑิต (นัยที่ ๒) 
67 . คนพาล-บัณฑิต (นัยที่ ๓)
68 . คนพาล-บัณฑิต (นัยที่ ๔) 
69 . ผลของกรรมที่ไม่สม่ำเสมอ-สม่ำเสมอ
70 . ผลของกรรมที่ไม่สะอาด-สะอาด
71 . ความไม่สะอาด-ความสะอาดทางกาย วาจา และใจ

“วิญญาณ” 
72 . วิญญาณ ไม่ใช่สิ่งที่ท่องเที่ยว
73 . วิญญาณ ไม่เที่ยง
74 . วิญญาณ เป็นสิ่งที่เกิดดับ 
75 . วิญญาณเป็นอนัตตา
76 . ผลของผัสสะ
77 . วิญญาณาหาร (อาหารของวิญญาณ)

“สังขตะ-อสังขตะ” 
78 . ลักษณะของสังขตะ-อสังขตะ 
79 . สังขตธาตุ-อสังขตธาตุ 
80 . ธรรมชาติที่ไม่ถูกอะไรทำ ไม่ถูกอะไรปรุง 
81 . ที่ซึ่ง นามรูป ดับสนิทไม่มีเหลือ
82 . สิ่งนั้นมีอยู่
83 . ชื่อว่านิพพาน อันบุคคลเห็นได้ยาก
84 . นิพพานของคนตาบอด
85 . ยืนคนละที่ เห็นคนละแบบ (นัยที่ ๑)
86 . ยืนคนละที่ เห็นคนละแบบ (นัยที่ ๒)
87 . อุปาทานและที่ตั้งแห่งอุปาทาน
88 . ขันธ์ ๕ และอุปาทานขันธ์ ๕ 
89 . มูลรากของอุปาทานขันธ์ 
90 . อุปาทานกับอุปาทานขันธ์ ไม่ใช่อย่างเดียวกัน 
91 . สัญโญชน์และที่ตั้งแห่งสัญโญชน์ 
92 . ความผูกติดกับอารมณ์
93 . กายก็ออก จิตก็ออก
94 . อะไรคือกรรมเก่าและกรรมใหม่ 
95 . กายนี้ เป็น “กรรมเก่า” 
96 . ลักษณะความเป็นอนัตตา 
97 . ขันธ์ ๕ ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา 
98 . เจริญสมาธิแล้ว จะรู้ได้ตามความเป็นจริงของขันธ์ ๕ 
99 . รู้ชัดอุปาทานขันธ์โดยปริวัฏฏ์ ๔ 
100 . ผู้ฉลาดในฐานะ ๗ ประการ 
101 . สัพเพ ธัมมา อนัตตา (นัยที่ ๑) 
102 . สัพเพ ธัมมา อนัตตา (นัยที่ ๒) 
103 . ธรรมทั้งหลายทั้งปวง อันใครๆ ไม่ควรยึดมั่นถือมั่น
104 . อัตตามี หรือ อัตตาไม่มี
105 . อัตถิตาและนัตถิตา
106 . เหตุให้ไม่ปรินิพพานในทิฏฐธรรม
107 . พรหมจรรย์ มีนิพพานเป็นที่สุด
108 . ธรรมทั้งหลายทั้งปวง มีนิพพานเป็นที่สุด

*****








ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น