เล่ม ๑๑ ภพภูมิ



ภพ
๑. ภพ เป็นอย่างไร
๒. ความมีขึ้นแห่งภพ (นัยที่ ๑)
๓. ความมีขึ้นแห่งภพ (นัยที่ ๒)
๔. เครื่องนำไปสู่ภพ
๕. ความเกิดขึ้นแห่งภพใหม่
๖. ที่ตั้งอยู่ของวิญญาณ (นัยที่ ๑)
๗. ที่ตั้งอยู่ของวิญญาณ (นัยที่ ๒)
๘. ความมีขึ้นแห่งภพ แม้มีอยู่ชั่วขณะก็น่ารังเกียจ

สัตว์
๙. ความหมายของคำว่า “สัตว์”
๑๐. เหตุให้มีการเกิด
๑๑. ลักษณะของการเกิด
๑๒. กายแบบต่างๆ
๑๓. คติ ๕ และอุปมา

นรก
๑๔. เหตุให้ทุคติปรากฏ
๑๕. โทษแห่งศีลวิบัติของคนทุศีล
๑๖. ทุคติของผู้ทุศีล
๑๗. วิบากของผู้ทุศีล
๑๘. เคราะห์ร้ายอันใหญ่หลวงของคนพาล
๑๙. ปฏิปทาให้เข้าถึงนรกชื่อปหาสะ
๒๐. ปฏิปทาให้เข้าถึงนรกชื่อสรชิต
๒๑. อสัทธรรมที่ทำให้เกิดในนรกตลอดกัป
๒๒. อุปมาความทุกข์ในนรก
๒๓. ความทุกข์ในนรก
๒๔. อายุนรก
๒๕. การเข้าถึงนรกในภพปัจจุบัน (นัยที่ ๑)
๒๖. การเข้าถึงนรกในภพปัจจุบัน (นัยที่ ๒)
๒๗. การจองจำที่ทารุณเจ็บปวด
๒๘. ความเป็นไปได้ยาก
๒๙. การไม่รู้อริยสัจ มืดยิ่งกว่าโลกันตริก

สัตว์เดรัจฉาน
๓๐. เหตุที่ทำให้เกิดเป็นสัตว์เดรัจฉาน
๓๑. นาคเป็นสัตว์เดรัจฉาน
๓๒. กำเนิดนาค ๔ จำพวก
๓๓. เหตุให้นาครักษาอุโบสถ
๓๔. เหตุให้เข้าถึงความเป็นสหายของนาค (นัยที่ ๑)
๓๕. เหตุให้เข้าถึงความเป็นสหายของนาค (นัยที่ ๒)
๓๖. กำเนิดครุฑ ๔ จำพวก
๓๗. เหตุให้เข้าถึงความเป็นสหายพวกครุฑ (นัยที่ ๑)
๓๘. เหตุให้เข้าถึงความเป็นสหายพวกครุฑ (นัยที่ ๒)
๓๙. ปฏิปทาให้ถึงความเป็นสุนัขและโค
๔๐. สัตว์ที่อยู่ในอบายมีมาก
๔๑. การจองจำที่ทารุณเจ็บปวด
๔๒. ความเป็นไปได้ยาก
เปรตวิสัย
๔๓. เปรตวิสัย
๔๔. ภพภูมิที่บริโภคทานได้
๔๕. ความเป็นไปได้ยาก

มนุษย์
๔๖. เหตุให้สุคติปรากฏ
๔๗. อานิสงส์แห่งศีลสมบัติของคนมีศีล
๔๘. สุคติของผู้มีศีล
๔๙. ข้อดีของมนุษย์เทียบกับ เทวดาชั้นดาวดึงส์
๕๐. เหตุแห่งการเกิดในครรภ์
๕๑. สัตว์ตั้งอยู่ในครรภ์ได้อย่างไร
๕๒. เหตุแห่งการดำรงอยู่ของชีวิต
๕๓. เหตุให้ได้ความเป็นหญิงหรือชาย
๕๔. เหตุให้มนุษย์เกิดมาแตกต่างกัน
๕๕. ธรรมของพระเจ้าจักรพรรดิ
๕๖. กรรมกำหนด
๕๗. เหตุสำเร็จความปรารถนา
๕๘. การเกิดสังคมมนุษย์
๕๙. ปัจจัยต่ออายุขัยของมนุษย์
๖๐. ผลจากความไม่มีธรรมะของมนุษย์
๖๑. เหตุที่ทำให้มนุษย์จำนวนลดลง
๖๒. เครื่องผูกพันสัตว์
๖๓. เหตุที่สัตว์บางพวกกลัวตาย บางพวกไม่กลัวตาย
๖๔. โอกาสในการเกิดเป็นมนุษย์นั้นยาก
๖๕. ความเป็นไปได้ยาก


เทวดา
๖๖. ข้อดีของเทวดาเทียบกับมนุษย์
๖๗. ผลแห่งความประพฤติเรียบร้อย
๖๘. ผลจากการวางจิตเมื่อให้ทาน
๖๙. ผลของการต้อนรับบรรพชิต ด้วยวิธีที่ต่างกัน
๗๐. เหตุสำเร็จความปรารถนา
๗๑. เหตุเกิดขึ้นแห่งทาน ๘ ประการ
๗๒. สัดส่วนของทาน ศีล ภาวนา
๗๓. ความแตกต่างของผู้ให้กับผู้ไม่ให้
๗๔. อุปมาความสุขบนสวรรค์
๗๕. อานิสงส์การรักษาอุโบสถ
๗๖. เทวดาซึ่งนับเนื่องในหมู่คนธรรพ์
๗๗. เหตุให้เข้าถึงความเป็นสหายของเทวดา
ซึ่งนับเนื่องในหมู่คนธรรพ์ (นัยที่ ๑)
๗๘. เหตุให้เข้าถึงความเป็นสหายของเทวดา
ซึ่งนับเนื่องในหมู่คนธรรพ์ (นัยที่ ๒)
๗๙. เทวดาซึ่งนับเนื่องในหมู่วลาหก
๘๐. เหตุให้เข้าถึงความเป็นสหายของเทวดา
ซึ่งนับเนื่องในหมู่วลาหก
๘๑. เทวดาเหล่ามนาปกายิกา
๘๒. เทวดาเข้าถือเอาพื้นที่
๘๓. เหตุให้ได้ความเป็นจอมเทพ
๘๔. การบูชาเทวดา
๘๕. การบูชาที่จัดเป็นการบูชาอย่างสูงสุด
๘๖. ทางเพื่อความเป็นสหายแห่งพรหม
๘๗. ความแตกต่างระหว่างปุถุชน
กับอริยสาวก ผู้ได้รูปสัญญา
๘๘. ผลของการเจริญรูปสัญญา
แล้วเห็นความไม่เที่ยง
๘๙. ความแตกต่างระหว่างปุถุชน
กับอริยสาวก ผู้เจริญพรหมวิหาร
๙๐. ผลของการเจริญพรหมวิหาร
แล้วเห็นความไม่เที่ยง
๙๑. ความแตกต่างระหว่างปุถุชน
กับอริยสาวก ผู้ได้อรูปสัญญา
๙๒. ผลของการเจริญอรูปสัญญา
แล้วเห็นความไม่เที่ยง
๙๓. เทวดาชั้นสุทธาวาส
๙๔. ชุมนุมเทวดา
๙๕. เทวดาเคยรบกับอสูร
๙๖. ตำแหน่งที่สตรีเป็นไม่ได้
๙๗. อานิสงส์แห่งการฟังธรรมเนืองๆ
๙๘. การเข้าถึงสวรรค์ในภพปัจจุบัน
๙๙. แม้แต่เทวดาก็ไม่เที่ยง
๑๐๐. ความเห็นผิดของพกพรหม
๑๐๑. เหตุที่มีความเห็นว่า อัตตาและโลก
บางอย่างเที่ยง บางอย่างไม่เที่ยง
๑๐๒. สุคติของเทวดา
๑๐๓. ความเป็นไปได้ยาก

ความยาวนาน แห่งสังสารวัฏ
๑๐๔. ความนานแห่งกัป (นัยที่ ๑)
๑๐๕. ความนานแห่งกัป (นัยที่ ๒)
๑๐๖. ความยาวนานแห่งสังสารวัฏ (นัยที่ ๑)
๑๐๗. ความยาวนานแห่งสังสารวัฏ (นัยที่ ๒)
๑๐๘. การท่องเที่ยวที่แสนยาวนาน
๑๐๙. การเวียนเกิดที่แสนยาวนาน
๑๑๐. ผู้ที่ไม่เคยเกี่ยวข้องกัน หาได้ยาก
๑๑๑. น้ำตา ที่เคยหลั่งไหล
๑๑๒. น้ำนม ที่เคยได้ดื่ม
๑๑๓. ทุกข์ ที่เคยประสบ
๑๑๔. สุข ที่เคยได้รับ
๑๑๕. เลือด ที่เคยสูญเสีย
๑๑๖. ความไม่แน่นอนของการได้อัตภาพ
๑๑๗. สิ่งทั้งหลายไม่เที่ยง (นัยที่ ๑)
๑๑๘. สิ่งทั้งหลายไม่เที่ยง (นัยที่ ๒)
๑๑๙. เพราะไม่รู้อริยสัจ จึงต้องท่องเที่ยวไปในสังสารวัฏ

นิพพาน
๑๒๐. อุปมาแห่งนิพพาน
๑๒๑. ความรู้สึกของปุถุชน
๑๒๒. นิพพาน คือ ธรรมเป็นที่สิ้นไปแห่งอาสวะ
๑๒๓. ความสิ้นตัณหา คือ นิพพาน
๑๒๔. นิพพานที่เห็นได้เอง
๑๒๕. นิพพานที่เห็นได้เอง ตามคำของพระอานนท์
๑๒๖. การปรินิพพานในปัจจุบัน
๑๒๗. ความหมายของคำว่า “ความดับ”
๑๒๘. ความดับของขันธ์ ๕ คือ ความดับของทุกข์
๑๒๙. ความดับของอายตนะ คือ ความดับของทุกข์
๑๓๐. ละตัณหาได้ คือ ละเบญจขันธ์ได้
๑๓๑. ดับตัณหา คือ ปลงภาระหนักลงได้
๑๓๒. ละความพอใจในสิ่งใด คือ การละซึ่งสิ่งนั้น
๑๓๓. เมื่อ “เธอ” ไม่มี
๑๓๔. สังขตลักษณะ
๑๓๕. อสังขตลักษณะ
๑๓๖. “ดิน น้ำ ไฟ ลม” ไม่อาจหยั่งลงได้ในที่ไหน
๑๓๗. “สิ่งนั้น” หาพบในกายนี้
๑๓๘. สิ่งๆ นั้น มีอยู่
๑๓๙. สิ่งนั้น มีแน่
๑๔๐. ลำดับการปฏิบัติ เพื่ออรหัตตผล
๑๔๑. ลำดับการหลุดพ้น เมื่อเห็นอนัตตา
๑๔๒. อริยมรรคมีองค์ ๘ คือ
ข้อปฏิบัติเพื่อความพ้นทุกข์

ภาคผนวก
๑๔๓. ตถาคตผู้อรหันตสัมมาสัมพุทธะ
๑๔๔. บริษัทสมาคม ๘
๑๔๕. บุรพกรรมของการได้ลักษณะของมหาบุรุษ
๑๔๖. อานิสงส์ของผู้มีจิตเลื่อมใสในตถาคต
๑๔๗. ว่าด้วยทักษิณา
๑๔๘. รัตนะที่หาได้ยาก
๑๔๙. ผู้มีอุปการะมาก
๑๕๐. ประพฤติพรหมจรรย์เพื่อการละขาดซึ่งภพ


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น