เล่ม ๘ อินทรียสังวร


สารบัญ
คำนำ
ผลเสียของการปล่อยจิตให้เพลินกับอารมณ์

๑ ก่อให้เกิดอนุสัยทั้ง ๓
๒ ไม่อาจที่จะหลุดพ้นไปจากทุกข์
๓ เพลินอยู่กับอายตนะ เท่ากับ เพลินอยู่ในทุกข์
๔ ลักษณะของการอยู่อย่างมีตัณหาเป็นเพื่อน
๕ ไม่อาจถึงซึ่ง ความเจริญงอกงาม ไพบูลย์ ในธรรมวินัย


ตัวอย่างพุทธวจน ที่ทรงตรัสไม่ให้ปล่อยจิตให้เพลินกับอารมณ์

๖ ละความเพลิน จิตหลุดพ้น

๗ ความพอใจ เป็นเหตุแห่งทุกข์
๘ เมื่อคิดถึงสิ่งใด แสดงว่าพอใจในสิ่งนั้น
๙ ภพแม้ชั่วขณะดีดนิ้วมือก็ยังน่ารังเกียจ

๑๐ ตัณหา คือ “เชื้อแห่งการเกิด”

๑๑ เมื่อมีความพอใจ ย่อมมีตัณหา

๑๒ ตัณหา คือ เครื่องนำไปสู่ภพใหม่ อันเป็นเหตุเกิดทุกข์
๑๓ สิ้นความอยาก ก็สิ้นทุกข์
๑๔ มีความเพลิน คือมีอุปาทาน ผู้มีอุปาทานย่อมไม่ปรินิพพาน

๑๕ ในอริยมรรคมีองค์ ๘

๑๖ ทรงตรัสว่า “เป็นเรื่องเร่งด่วนที่ต้องเร่งกระทำ”
๑๗ ต้องเพียรละความเพลินในทุก ๆ อิริยาบถ
๑๘ ความเพียร ๔ ประเภท (นัยที่ ๑)
๑๙ ความเพียร ๔ ประเภท (นัยที่ ๒)


จิตที่เพลินกับอารมณ์ ละได้ด้วยการมีอินทรียสังวร
(การสำรวมอินทรีย์)


๒๐ เมื่อมีสติ ความเพลินย่อมดับ
๒๑ กายคตาสติ มีความสำคัญต่ออินทรียสังวร
๒๒ อินทรียสังวร ปิดกั้นการเกิดขึ้นแห่งบาปอกุศล


ความสำคัญแห่งอินทรียสังวร
อินทรียสังวร เป็นเหตุให้ได้มาซึ่งวิมุตติญาณทัสสนะ
ผู้ไม่สำรวมอินทรีย์คือผู้ประมาท ผู้สำรวมอินทรีย์คือผู้ไม่ประมาท
ความไม่ประมาท เป็นยอดแห่งกุศลธรรม
ผู้มีอินทรียสังวร จึงสามารถเจริญสติปัฏฐานทั้ง ๔ ได้
อาสวะบางส่วนสามารถละได้ด้วยการสำรวม
อาสวะบางส่วนสามารถละได้ด้วยการบรรเทา
ผลที่ได้เพราะเหตุแห่งการปิดกั้นอาสวะ


ความหมายและลักษณะของการมีอินทรียสังวร
ความหมายแห่งอินทรีย์
ลักษณะของผู้สำรวมอินทรีย์
ผู้ที่ถึงซึ่ง ความเจริญงอกงาม ไพบูลย์ ในธรรมวินัย


รูปแบบการละความเพลินในอารมณ์โดยวิธีอื่น
๓๓ กระจายซึ่งผัสสะ
๓๔ ตามแนวแห่งสัมมาสังกัปปะ

๓๕ ย่อมยุบ ไม่ก่อ ขว้างทิ้ง ไม่ถือเอา ซึ่งขันธ์ 5

๓๖ เห็นประจักษ์ตามความเป็นจริง
๓๗ พึงเห็นว่า ชีวิตนั้นแสนสั้น


ผลที่สุดของการละความเพลินในอารมณ์
๓๘ ผู้ได้ชื่อว่า อินทรีย์ภาวนาชั้นเลิศ
๓๙ ผู้เข้าไปหาเป็นผู้ไม่หลุดพ้น ผู้ไม่เข้าไปหาย่อมหลุดพ้น
๔๐ เพราะไม่เพลิน จึงละอนุสัยทั้ง ๓ ได้
ย่อมหลุดพ้นไปจากทุกข์
ลักษณะของบุคคลสี่ประเภท
ข้อย้ำเตือนจากพระตถาคต
ความไม่ประมาท ยังกุศลธรรมทั้งหลายให้เกิดขึ้น
พินัยกรรม ของพระสังฆบิดา
บันทึกท้ายเล่ม