เล่ม ๖ อานาปานสติ


สารบัญ

๑. อานิสงส์สูงสุดแห่งอานาปานสติ ๒ ประการ
๒. อานิสงส์แห่งอานาปานสติ ๗ ประการ
๓. เจริญอานาปานสติ เป็นเหตุให้ สติปัฏฐาน ๔ โพชฌงค์ ๗ วิชชาและวิมุตติ บริบูรณ์
อานาปานสติบริบูรณ์ ย่อมทำสติปัฏฐานให้บริบูรณ์
สติปัฏฐานบริบูรณ์ ย่อมทำโพชฌงค์ให้บริบูรณ์
โพชฌงค์บริบูรณ์ ย่อมทำวิชชาและวิมุตติให้บริบูรณ์
๔. เจริญอานาปานสติ เป็นเหตุให้ สติปัฏฐาน ๔
โพฌชงค์ ๗ วิชชาและวิมุตติ บริบูรณ์ (อีกสูตรหนึ่ง)
สติปัฏฐานบริบูรณ์ เพราะอานาปานสติบริบูรณ์
โพชฌงค์บริบูรณ์ เพราะสติปัฏฐานบริบูรณ์
วิชชาและวิมุตติบริบูรณ์ เพราะโพชฌงค์บริบูรณ์
๕. การเจริญอานาปานสติ (ตามนัยแห่งมหาสติปัฏฐานสูตร)
๖. เมื่อเจริญอานาปานสติ ก็ชื่อว่าเจริญกายคตาสติ
๗. อานาปานสติ เป็นเหตุให้ถึงซึ่งนิพพาน
๘. อานาปานสติสมาธิ เป็นเหตุให้ละสังโยชน์ได้
๙. อานาปานสติสมาธิ สามารถกำจัดเสียได้ซึ่งอนุสัย
๑๐. อานาปานสติสมาธิ เป็นเหตุให้รอบรู้ซึ่งทางไกล (อวิชชา)
๑๑. อานาปานสติสมาธิ เป็นเหตุให้สิ้นอาสวะ
๑๒. แบบการเจริญอานาปานสติที่มีผลมาก (แบบที่หนึ่ง)
๑๓. เจริญอานาปานสติ มีอานิสงส์เป็นเอนกประการ
จิตหลุดพ้นจากอาสวะ
ละความดำริอันอาศัยเรือน
ควบคุมความรู้สึกเกี่ยวความไม่ปฏิกูล
เป็นเหตุให้ได้สมาธิในระดับรูปสัญญาทั้งสี่
เป็นเหตุให้ได้สมาธิในระดับอรูปสัญญาทั้งสี่
เป็นเหตุให้ได้สัญญาเวทยิตนิโรธ
รู้ต่อเวทนาทุกประการ
๑๔. แบบการเจริญอานาปานสติที่มีผลมาก (แบบที่สอง)
๑๕. เจริญอานาปานสติมีอานิสงส์เป็นเอนกประการ
(อีกสูตรหนึ่ง)
ได้บรรลุมรรคผลในปัจจุบัน
เพื่อประโยชน์มาก
เพื่อความเกษมจากโยคะมาก
เพื่อความสังเวชมาก
เพื่ออยู่เป็นผาสุกมาก
๑๖. เจริญอานาปานสติ ชื่อว่าไม่เหินห่างจากฌาน
๑๗. อานาปานสติ : เป็นสุขวิหาร ระงับได้ซึ่งอกุศล
๑๘. อานาปานสติ : สามารถกำจัดบาปอกุศลได้ทุกทิศทาง
๑๙. อานาปานสติ : ละได้เสียซึ่งความฟุ้งซ่าน
๒๐. อานาปานสติ : ละเสียได้ซึ่งความคับแค้น
๒๑. อานาปานสติ : วิหารธรรมของพระอริยเจ้า
๒๒. เจริญอานาปานสติ :
ความหวั่นไหวโยกโคลงแห่งกายและจิต ย่อมมีขึ้นไม่ได้
๒๓. เจริญอานาปานสติ เป็นเหตุให้รู้ลมหายใจ
อันมีเป็นครั้งสุดท้าย ก่อนเสียชีวิต
๒๔. ธรรมเป็นเครื่องถอนอัส๎มิมานะในปัจจุบัน
๒๕. วิธีการบ่มวิมุตติให้ถึงที่สุด
๒๖. สัญญา ๑๐ ประการ
ในฐานะแห่งการรักษาโรคด้วยอำนาจสมาธิ

ธรรมะแวดล้อม
๒๗. ธรรมเป็นอุปการะเฉพาะแก่อานาปานสติภาวนา
(นัยที่หนึ่ง)
(นัยที่สอง)
(นัยที่สาม)
๒๘. นิวรณ์เป็นเครื่องทำกระแสจิตไม่ให้รวมกำลัง
๒๙. นิวรณ์-ข้าศึกแห่งสมาธิ
๓๐. ข้อควรระวัง ในการเจริญสติปัฏฐานสี่
๓๑. เหตุปัจจัยที่พระศาสนาจะตั้งอยู่นาน ภายหลังพุทธปรินิพพาน
๓๒. อานิสงส์แห่งกายคตาสติ