เล่ม ๕ แก้กรรม


สารบัญ
สิ่งที่ต้องรู้เกี่ยวกับ “กรรม” 
๑ รายละเอียดที่บุคคลควรทราบ เกี่ยวกับเรื่องกรรม
๒ ว่าด้วยเหตุเกิดของกรรม ๓ อย่าง
๓ ว่าด้วยเหตุเกิดแห่งกรรม ๓ อย่าง(อีกนัยยะ)
๔ สิ่งที่ไม่ควรคิด

ประเภทของกรรม
๖ อะไรคือกรรมเก่าและกรรมใหม่
๗ กายนี้ เป็น “กรรมเก่า”
๘ การทำกรรมทางใดมีโทษมากที่สุด

หลักการพิจารณาว่ากรรมชนิดนั้นควรทำหรือไม่
๙ เมื่อจะกระทำ
๑๐ เมื่อกระทำอยู่
๑๑ เมื่อกระทำแล้ว

ข้อควรทราบ เพื่อป้องกันความเข้าใจผิดเกี่ยวกับเรื่องกรรม
๑๒ การพยากรณ์บุคคลอื่น ทำได้หรือไม่
๑๓ ทุกข์เกิดเพราะมีเหตุปัจจัย
๑๔ ทาง ๒ สายที่ไม่ควรเดิน
๑๕ บาปกรรมเก่า ไม่อาจสิ้นได้ด้วยการทรมานตนเอง
๑๖ สุข-ทุกข์ ที่ได้รับไม่ใช่ผลของกรรมเก่าอย่างเดียว

ลัทธิความเชื่อผิดๆ เกี่ยวกับกรรม ๓ แบบ
๑๗ ลัทธิที่เชื่อว่าสุขและทุกข์ เกิดจากกรรมเก่าอย่างเดียว
๑๘ ลัทธิที่เชื่อว่าสุขและทุกข์ เกิดจากเทพเจ้าบันดาลให้
๑๙ ลัทธิที่เชื่อว่าสุขและทุกข์เกิดขึ้นเองลอยๆ ไม่มีอะไรเป็นเหตุ เป็นปัจจัย
๒๐ เชื่อว่า “กรรม” ไม่มี อันตรายอย่างยิ่ง

ผลของกรรม แบ่งโดยผลที่ได้รับ
๒๒. ผู้ฉลาดในเรื่องวิบากแห่งกรรม
๒๓. เหตุให้ได้ความเป็นผู้มีรูปงาม
มีทรัพย์มาก และสูงศักดิ์
๒๔. ผลของการให้ทานแบบต่างๆ

๒๕ กรรมที่ทำให้ได้รับผลเป็นความไม่ตกต่ำ
๒๖ เหตุที่ทำให้มนุษย์เกิดมาแตกต่างกัน
๒๗ บุรพกรรมของการได้ลักษณะ“มหาบุรุษ”
๒๘ ทำไมคนที่ทำบาปกรรมอย่างเดียวกัน แต่รับวิบากกรรมต่างกัน 
๒๙ อานิสงส์ของการรักษาศีล
๓๐ สุคติของผู้มีศีล
๓๑ วิบากของผู้ทุศีล
๓๒ ทุคติของผู้ทุศีล
๓๓ ทำชั่วได้ชั่ว
๓๔ บุคคล ๔ จำพวก

กรรมที่ทำให้สิ้นกรรม
๓๕ ข้อปฏิบัติให้ถึงความสิ้นกรรม
 รายละเอียดของสัมมากัมมันตะ
 อาชีพที่ไม่ควรกระทำ
๓๖ “สิ้นตัณหา ก็ สิ้นกรรม”  
๓๗ การกระทำกรรมที่เป็นไปเพื่อการสิ้นกรรม
๓๘ จะเกิดในตระกูลใดก็สิ้นกรรมได้

เรื่องเกี่ยวกับ “กรรม” ในเชิงปฏิจจสมุปบาท (การที่ทุกข์เกิดขึ้นเพราะอาศัยปัจจัยต่อเนื่องกันมา) 
๓๙ เหตุเกิดของทุกข์ 
๔๐ ความหมายที่แท้จริงของคำว่า “สัตว์” 
๔๑ ความไม่มีสัตว์ บุคคล ตัวตน เรา เขา
๔๒ เหตุเกิดของภพ
๔๓ เครื่องนำไปสู่ภพ
๔๔  ปฏิจจสมุปบาท ในฐานะเป็นกฎสูงสุดของธรรมชาติ