เล่ม ๑๘ สกทาคามี

 


สารบัญ

สกทาคามี

1. สมณะบุณฑริก (สกทาคามี) 

2. สกทาคามีในภพมนุษย์ 

3. สกทาคามี เปรียบได้กับ บุคคลผู้ว่ายเข้าหาฝั่ง 

4. เป็นสกทาคามี ได้กายชั้นดุสิต 

5. ความเป็นอริยบุคคล กับอินทรีย์ ๕ 

6. เอกพีชี อินทรีย์ ๕ อ่อนกว่า สกทาคามี 

7. ความเป็นอริยบุคคล กับการละสังโยชน์ (บุคคล ๔ จำพวก) 

8. สังโยชน์ ๑๐ 

9. ความเป็นอริยบุคคล กับการละกามโยคะและภวโยคะ (บุคคล ๓ จำพวก)

10 . ความเป็นอริยบุคคล กับสิกขา ๓ 

11 . สิกขา ๓ 

12 . ผู้ที่ต้องศึกษาสิกขา ๓ 

13 . บุคคลที่มีเชื้อเหลือ แต่พ้นทุคติ 

14 . บุคคลผู้พ้นทุคติ หรือไม่ไปทุคติ 

15 . ผู้เชื่อมั่นในตถาคต ที่สำเร็จในโลกนี้ และที่ละโลกนี้ไปแล้วจึงสำเร็จ

16 . ข้อแตกต่างระหว่างอริยสาวกผู้ได้สดับกับปุถุชนผู้ไม่ได้สดับ เมื่อได้สมาธิ (รูปสัญญา)

17 . ข้อแตกต่างระหว่างอริยสาวกผู้ได้สดับกับปุถุชนผู้ไม่ได้สดับ เมื่อเจริญพรหมวิหาร

18 . ข้อแตกต่างระหว่างอริยสาวกผู้ได้สดับกับปุถุชนผู้ไม่ได้สดับ เมื่อได้สมาธิ (อรูปสัญญา)

19 . อริยสาวกผู้ประกอบด้วยสังโยชน์ แต่ไม่มีสังโยชน์ที่เป็นเหตุให้กลับมายังโลกนี้อีก

20 . ผลของการประกอบตนให้ติดเนื่องในความสุข ๔ ประการ 

21 . บุคคลผู้ควรแก่ของทำบุญ 

22 . สัทธานุสารี ธัมมานุสารี โสดาบัน 

23 . แม้แต่อริยบุคคลขั้นโสดาบัน ก็ไม่อาจแปรปรวน 

กาม และ กามคุณ

24 . ความหมายของกามและกามคุณ 

25 . โลก ในอริยวินัย คือ กามคุณ ๕ 

26 . โลก คือ สิ่งที่แตกสลายได้ 

27 . กามคุณ ๕ คือ เครื่องจองจำในอริยวินัย

28 . กามเลว ปานกลาง และประณีต

29 . กามอันเป็นทิพย์ ประณีตกว่ากามของมนุษย์

30 . เทียบเคียงลักษณะเทวดาชั้นดาวดึงส์

31 . คุณของกามและโทษของกาม 

32 . สุขที่ควรกลัวและไม่ควรกลัว 

33 . ตั้งอยู่ในภูมิคนแก่ เพราะละกามได้ 

34 . ไม่เวียนกลับไปสู่กามทั้งหลายอีก เพราะบรรลุสุขอื่นที่สงบกว่า 

35 . เหตุเกิดของอกุศลวิตก 

36 . ข้อปฏิบัติเพื่อดับอกุศลสังกัปปะ (ความดำริอันเป็นอกุศล) 

37 . เหตุเกิดของกามฉันทะ 

38 . อาหารของกามฉันทะ

39 . เมื่อตั้งใจฟังธรรม กามฉันทะ ย่อมไม่มี

ราคะ โทสะ โมหะ 

40 . ธรรมที่เกิดขึ้นแล้ว บรรเทาได้ยาก 

41 . ไฟ คือ ราคะ โทสะ โมหะ

42 . เหตุให้เป็นคนดุร้าย หรือคนสงบเสงี่ยม

43 . อาชีพที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับ ราคะ โทสะ โมหะ

44 . ความแตกต่างของ ราคะ โทสะ โมหะ และวิธีละราคะ โทสะ โมหะ

45 . เจริญอสุภะเพื่อละราคะ เจริญเมตตาเพื่อละโทสะเจริญปัญญาเพื่อละโมหะ

46 . เจริญอนุสสติ เพื่อละราคะ โทสะ โมหะ 

47 . ศึกษาในสิกขา ๓ เพื่อละราคะ โทสะ โมหะ

48 . การละธรรม ๓ เพื่อละราคะ โทสะ โมหะ

49 . เห็นสัญโญชนิยธรรมโดยความเป็นของน่าเบื่อหน่ายเพื่อละราคะ โทสะ โมหะ

50 . เพราะมีความสิ้นไปแห่งนันทิ จึิงมีความสิ้นไปแห่งราคะ 

51 . นิพพานที่เห็นได้เอง

ภพ ๓ 

52 . ภพ ๓ (กามภพ รูปภพ อรูปภพ) 

53 . การตั้งอยู่ของวิญญาณ คือ การบังเกิดในภพใหม่ 

54 . การตั้งอยู่ของความเจตนา หรือความปรารถนาคือ การบังเกิดในภพใหม่

55 . ฉันทะ ราคะ นันทิ ตัณหา อุปายะและอุปาทาน ในขันธ์ ๕ คือ เครื่องนำไปสู่ภพ

56 . มีจิตฝังลงไปในสิ่งใด เครื่องนำไปสู่ภพใหม่ย่อมมี 

57 . มีจิตฝังลงไปในสิ่งใด การก้าวลงแห่งนามรูปย่อมมี 

58 . มีจิตฝังลงไปในสิ่งใด การเกิดขึ้นแห่งภพใหม่ต่อไปย่อมมี

ข้อปฏิบัติเพื่อความเป็น อริยบุคคล 

59 . อานิสงส์ของธรรม ๔ ประการ 

60 . ละธรรม ๕ อย่าง ได้ความเป็นอริยบุคคล 

61 . ผลของการพิจารณาเห็นสังขาร โดยความไม่เที่ยง 

62 . ผลของการพิจารณาเห็นสังขาร โดยความเป็นทุกข์ 

63 . ผลของการพิจารณาเห็นธรรม โดยความเป็นอนัตตา

64 . ผลของการพิจารณาเห็นนิพพาน โดยความเป็นสุข 

65 . การเห็นเพื่อละสังโยชน์ 

66 . การเห็นเพื่อละอนุสัย 

67 . การเห็นเพื่อละอาสวะ 

68 . การเห็นเพื่อละอวิชชา 

69 . เหตุสำเร็จตามความปรารถนา 

70 . บทสรุป 

*****

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น