เล่ม ๑๕ ปฏิบัติ สมถะวิปัสสนา


รองปกหน้า
สารบัญ

ความสำคัญของ สมถะ วิปัสสนา
๑.ธรรมที่เป็นส่วนแห่งวิชชา
๒.เจริญสมถะและวิปัสสนา ย่อมแทงตลอดซึ่งธาตุเป็นอเนก
๓.สมถะและวิปัสสนา ต้องเป็นธรรมที่เคียงคู่กันไป
๔.ธรรมที่ควรกำหนดรู้, ควรละ,ควรทำให้เจริญ, ควรทำให้แจ้ง (นัยที่ ๑)
๕.ธรรมที่ควรกำหนดรู้, ควรละ,ควรทำให้เจริญ, ควรทำให้แจ้ง (นัยที่ ๒)
๖.เพราะไม่รู้อริยสัจ จึงต้องท่องเที่ยวไปในสังสารวัฏ ๑๘ ๑๘
๗.เจริญสมาธิแล้ว จักรู้ได้ตามเป็นจริง (นัยที่ ๑)
๘.เจริญสมาธิแล้ว จักรู้ได้ตามเป็นจริง (นัยที่ ๒)
๙.เจริญสมาธิแล้ว จักรู้ได้ตามเป็นจริง (นัยที่ ๓)
๑๐.เจริญสมาธิ ได้ชื่อว่ากำลังโน้มเอียไปสู่นิพพาน
๑๑.เจริญสมาธิ ได้ความอยู่เป็นสุขในปัจจุบันและที่สุดแม้แต่ความสิ้นอาสวะ
๑๒.อานิสงส์ของการหลีกเร้น (นัยที่ ๑)
๑๓.อานิสงส์ของการหลีกเร้น (นัยที่ ๒)
๑๔.ตถาคตตรัสให้ “พึ่งตน พึ่งธรรม”

ทำความเข้าใจ ก่อนลงมือปฏิบัติ ๓๕
๑๕.การแสวงหา ๒ แบบ ๓๖ ๓๖
 -การแสวงหาที่ไม่ประเสริฐ ๓๖ ๓๖
 -การแสวงหาที่ประเสริฐ
 ๑๖.โอกาสในการเกิดเป็นมนุษย์นั้นยาก
๑๗.สมัยเพื่อการอยู่ประพฤติพรหมจรรย์
๑๘.สิ่งที่ใครๆ ในโลกไม่ได้ตามปรารถนา
๑๙.สิ่งที่ควรพิจารณาเนืองๆ
๒๐.เพราะแตกสลาย จึงได้ชื่อว่า “โลก”
๒๑.เป็นทุกข์เพราะติดอยู่ในอายตนะ
๒๒.ความเพลินในอายตนะ เท่ากับเพลินอยู่ในทุกข์
๒๓.ความไม่เพลินในอายตนะ คือความหลุดพ้นจากทุกข์
๒๔.ฉันทะ เป็นมูลเหตุแห่งทุกข์
๒๕.ทิ้งเสียนั่นแหละกลับจะเป็นประโยชน์
๒๖.ความเร่าร้อนเพราะกามตัณหา
๒๗.สิ่งทั้งปวงที่ต้องรู้จัก เพื่อความสิ้นทุกข์ (นัยที่ ๑)
๒๘.สิ่งทั้งปวงที่ต้องรู้จัก เพื่อความสิ้นทุกข์ (นัยที่ ๒)
๒๙.สิ่งทั้งปวงที่ต้องรู้จัก เพื่อความสิ้นทุกข์ (นัยที่ ๓)
๓๐.ธรรมที่ละได้ด้วยกาย ละได้ด้วยวาจาและไม่อาจละได้ด้วยกายหรือวาจา
๓๑.ปัจจัยแห่งทุกข์ และความดับแห่งทุกข์โดยอเนกปริยาย
๓๒.เหตุให้ได้ปัญญา อันเป็นเบื้องต้นแห่งพรหมจรรย์
๓๓.ทางให้ถึงความหลุดพ้นห้าทาง
๓๔.ทัศนะต่างกัน แต่หลุดพ้นเหมือนกัน
๓๕.ลำดับการปฏิบัติเพื่ออรหัตตผล
๓๖.อานิสงส์ของธรรม ๔ ประการ
๓๗.ธรรมย่อมไหลไปสู่ธรรม
๓๘.ความไม่ประมาท เป็นยอดแห่งกุศลธรรม
๓๙.ลักษณะของผู้ไม่ประมาท (นัยที่ ๑)
๔๐.ลักษณะของผู้ไม่ประมาท (นัยที่ ๒)

ทำความเข้าใจเกี่ยวกับ อริยมรรคมีองค์ ๘
๔๑.กระทำให้มากซึ่งอริยมรรคมีองค์ ๘ ย่อมน้อมไปสู่นิิพพาน
๔๒.อริยมรรคมีองค์ ๘ เป็นทางสายกลางอันเป็นเหตุให้เกิดจักษุและญาณเพื่อนิพพาน
๔๓.ปรารภโพชฌงค์แล้ว มรรคก็เป็นอันปรารภด้วย
๔๔.ปรารภสติปัฏฐานแล้ว มรรคก็เป็นอันปรารภด้วย
๔๕.ความถึงพร้อมด้วยศีล เป็นเบื้องต้นเพื่อความเกิดขึ้นแห่งอริยมรรคมีองค์ ๘
๔๖.หนทางมีอยู่ เมื่อปฏิบัติตามแล้ว จะรู้ได้เอง (หลักการเลือกครู)

ทำความเข้าใจเกี่ยวกับ ขันธ์ ๕
๔๗.ความหมายของคำว่า “รูป”
๔๘.อุปมาแห่งรูป
๔๙.มหาภูต ๔ และรูปอาศัย
๕๐.รายละเอียดของธาตุสี่
๕๑.อัสสาทะและอาทีนวะของรูป
๕๒.อริยมรรคมีองค์ ๘ คือข้อปฏิบัติ ให้ถึงความดับแห่งรูป
๕๓.ความหมายของคำว่า “เวทนา”
๕๔.อุปมาแห่งเวทนา
๕๕.หลักที่ควรรู้เกี่ยวกับ เวทนา
๕๖.เวทนา เป็นทางมาแห่งอนุสัย
๕๗.เวทนามีธรรมดาไม่เที่ยง
๕๘.อาการเกิดดับแห่งเวทนา
๕๙.เวทนา ๑๐๘ (นัยที่ ๑)
๖๐.เวทนา ๑๐๘ (นัยที่ ๒)
๖๑.อินทรีย์ ๕ - เวทนา ๓
๖๒.เวทนาใดๆ ต่างประมวลลงใน “ทุกข์”
๖๓.ความเป็นทุกข์สามลักษณะ
๖๔.อัสสาทะและอาทีนวะของเวทนา
๖๕.อริยมรรคมีองค์ ๘ คือข้อปฏิบัติ ให้ถึงความดับแห่งเวทนา
๖๖.ความหมายของคำว่า “สัญญา”
๖๗.อุปมาแห่งสัญญา
๖๘.หลักที่ควรรู้เกี่ยวกับสัญญา
๖๙.อัสสาทะและอาทีนวะของสัญญา
๗๐.อริยมรรคมีองค์ ๘ คือข้อปฏิบัติ ให้ถึงความดับแห่งสัญญา
๗๑.ความหมายของคำว่า “สังขาร”
๗๒.อุปมาแห่งสังขาร
๗๓.อัสสาทะและอาทีนวะของสังขาร
๗๔.อริยมรรคมีองค์ ๘ คือข้อปฏิบัติ ให้ถึงความดับแห่งสังขาร
๗๕.ความหมายของคำว่า “วิญญาณ”
๗๖.อุปมาแห่งวิญญาณ
๗๗.ปัจจัยแห่งการเกิดขึ้นของวิญญาณ
๗๘.ที่ตั้งอาศัยของวิญญาณ
๗๙.วิญญาณ ไม่ใช่สิ่งที่ท่องเที่ยว
๘๐.วิญญาณ ไม่เที่ยง
๘๑.วิญญาณ เป็นสิ่งที่เกิดดับ
๘๒.อัสสาทะและอาทีนวะของวิญญาณ
๘๓.อริยมรรคมีองค์ ๘ คือข้อปฏิบัติ ให้ถึงความดับแห่งวิญญาณ
๘๔.ความลับของขันธ์ ๕
๘๕.สัญโญชน์และที่ตั้งแห่งสัญโญชน์
๘๖.ทุกข์เกิด เพราะเห็นสัญโญชนิยธรรมโดยความเป็นอัสสาทะ (นัยที่ ๑)
๘๗.ทุกข์ดับ เพราะเห็นสัญโญชนิยธรรมโดยความเป็นอาทีนวะ (นัยที่ ๑)
๘๘.ทุกข์เกิด เพราะเห็นสัญโญชนิยธรรมโดยความเป็นอัสสาทะ (นัยที่ ๒)
๘๙.ทุกข์ดับ เพราะเห็นสัญโญชนิยธรรมโดยความเป็นอาทีนวะ (นัยที่ ๒)
๙๐.อุปาทานและที่ตั้งแห่งอุปาทาน
๙๑.อุปาทานกับอุปาทานขันธ์ มิใช่อันเดียวกัน
๙๒.รากเง่าแห่งอุปาทานขันธ์
๙๓.ขันธ์ ๕ และอุปาทานขันธ์ ๕
๙๔.ทุกข์เกิด เพราะเห็นอุปาทานิยธรรม โดยความเป็นอัสสาทะ
๙๕.ทุกข์ดับ เพราะเห็นอุปาทานิยธรรม โดยความเป็นอาทีนวะ
๙๖.เพลินในขันธ์ ๕ เท่ากับเพลินในทุกข์ ไม่เพลินในขันธ์ ๕ เท่ากับพ้นไปจากทุกข์
๙๗.ต้องละฉันทราคะในขันธ์ ๕
๙๘.วิญญาณไม่เที่ยง
๙๙.ลักษณะความเป็นอนัตตา
๑๐๐.ขันธ์ ๕ ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา
๑๐๑.ความเกิดขึ้น และความดับไปของขันธ์ ๕
๑๐๒.ขันธ์ ๕ คือ มาร (นัยที่ ๑)
๑๐๓.ขันธ์ ๕ คือ มาร (นัยที่ ๒)
๑๐๔.รอบรู้ซึ่งสักกายะ
๑๐๕.เหตุเกิดแห่งสักกายทิฏฐิ
๑๐๖.สิ่งที่ยึดถือ (นัยที่ ๑)
๑๐๗.สิ่งที่ยึดถือ (นัยที่ ๒)
๑๐๘.ความหมายของอวิชชา-วิชชา (นัยที่ ๑)
๑๐๙.ความหมายของอวิชชา-วิชชา (นัยที่ ๒)
๑๑๐.ความหมายของอวิชชา-วิชชา (นัยที่ ๓)

ข้อแนะนำ ในการปรารภความเพียร
๑๑๑.ความเพียรสามารถทำได้ในทุกอิริยาบถ
๑๑๒.ลักษณะของผู้เกียจคร้าน
๑๑๓.ที่ตั้งแห่งความเกียจคร้าน
๑๑๔.ที่ตั้งแห่งการปรารภความเพียร
๑๑๕.เพียรละอกุศลแข่งกับความตาย
๑๑๖.ทำความเพียรแข่งกับอนาคตภัย (นัยที่ ๑)
๑๑๗.ทำความเพียรแข่งกับอนาคตภัย (นัยที่ ๒)
๑๑๘.สมัยที่ไม่สมควร และที่สมควรกระทำความเพียร
๑๑๙.ทำอย่างไร ความเพียรพยายามจึงมีผล
๑๒๐.สิ่งที่ควรเสพ-ไม่ควรเสพ
๑๒๑.หลักการเลือกสถานที่และบุคคล ที่ควรเสพ และไม่ควรเสพ
๑๒๒.เครื่องผูกพันจิต ๕ อย่าง
๑๒๓.อุปกิเลสแห่งจิต
๑๒๔.มนสิการโดยไม่แยบคาย นิวรณ์ ๕ ย่อมเกิด
๑๒๕.เจริญสมาธิให้ได้อย่างน้อยวันละ ๓ ครั้ง
๑๒๖.ลักษณะของผู้ที่ง่ายต่อการเข้าสมาธิ
๑๒๗.เจริญสมาธิแม้เพียงชั่วลัดนิ้วมือ ชื่อว่าไม่เหินห่างจากฌาน
๑๒๘.ธรรมเป็นอุปการะเฉพาะแก่ อานาปานสติภาวนา (นัยที่ ๑)
๑๒๙.ธรรมเป็นอุปการะเฉพาะแก่ อานาปานสติภาวนา (นัยที่ ๒)
๑๓๐.ธรรมเป็นอุปการะเฉพาะแก่ อานาปานสติภาวนา (นัยที่ ๓)
๑๓๑.ผู้ตามประกอบในธรรมเป็นเครื่องตื่น
๑๓๒.ต้องปรารภความเพียรแต่พอดี
๑๓๓.ความหมายของทางสายกลาง (นัยที่ ๑)
๑๓๔.ความหมายของทางสายกลาง (นัยที่ ๒)
๑๓๕.ความหมายของทางสายกลาง (นัยที่ ๓)
๑๓๖.อานิสงส์ของกายคตาสติ (นัยที่ ๑)
๑๓๗.อานิสงส์ของกายคตาสติ (นัยที่ ๒)
๑๓๘.ลักษณะของผู้ตั้งจิตในกายคตาสติ
๑๓๙.ลักษณะของผู้ไม่ตั้งจิตในกายคตาสติ
๑๔๐.ให้ตั้งจิตในกายคตาสติ เสมือนบุรุษผู้ถือภาชนะน้ำมัน
๑๔๑.ที่สำหรับเที่ยวไป ของนักปฏิบัติ
๑๔๒.การเจริญสติปัฏฐานของคนฉลาด
๑๔๓.อานิสงส์ของการเดินจงกรม
๑๔๔.การอยู่ป่าเหมาะกับภิกษุบางรูป
๑๔๕.ลักษณะของบุคคลสี่ประเภท
๑๔๖.ไม่ต้องร้อนใจ หากยังไม่ประสบผล
๑๔๗.สิ้นกิเลสก็แล้วกัน ไม่ต้องรู้ว่าสิ้นไปเท่าไร
๑๔๘.หากประพฤติถูกต้อง จะหวังผลหรือไม่หวังผล ย่อมได้รับผล
๑๔๙.บทอธิษฐานจิตเพื่อทำความเพียร

ตัวอย่าง วิธีการปฏิบัติ
๑๕๐.สมาธิทุกระดับ สามารถอาศัยเพื่อสิ้นอาสวะได้
๑๕๑.อานาปานสติ
๑๕๒.เจริญอานาปานสติ เป็นเหตุให้สติปัฏฐาน ๔โพชฌงค์ ๗ วิชชาและวิมุตติบริบูรณ์
๑๕๓.สัญญา ๑๐ ประการ
๑๕๔.ลักษณะของสัญญา ๑๐ ประการ
๑๕๕.อานิสงส์แห่งการภาวนาแบบต่างๆ
๑๕๖.ปฏิปทาที่เป็นสัปปายะแก่การบรรลุนิพพาน (นัยที่ ๑)
๑๕๗.ปฏิปทาที่เป็นสัปปายะแก่การบรรลุนิพพาน (นัยที่ ๒)
๑๕๘.ปฏิปทาที่เป็นสัปปายะแก่การบรรลุนิพพาน (นัยที่ ๓)
๑๕๙.ปฏิปทาที่เป็นสัปปายะแก่การบรรลุนิพพาน (นัยที่ ๔)
๑๖๐.ธรรมโดยย่อ เพื่อการหลุดพ้น (นัยที่ ๑)
๑๖๑.ธรรมโดยย่อ เพื่อการหลุดพ้น (นัยที่ ๒)
๑๖๒.ข้อปฏิบัติสำหรับผู้ผ่านราตรีนาน
๑๖๓.ข้อปฏิบัติเพื่อบรรลุมรรคผล ของคนเจ็บไข้
๑๖๔.ข้อปฏิบัติเพื่อบรรลุมรรคผล ของบุคคลทั่วไป (นัยที่ ๑)
๑๖๕.ข้อปฏิบัติเพื่อบรรลุมรรคผล ของบุคคลทั่วไป (นัยที่ ๒)
๑๖๖.ธรรมอย่างหนึ่ง เพื่อละอวิชชา (นัยที่ ๑)
๑๖๗.ธรรมอย่างหนึ่ง เพื่อละอวิชชา (นัยที่ ๒)
๑๖๘.ย่อมยุบ ย่อมไม่ก่อ ย่อมขว้างทิ้ง ย่อมไม่ถือเอา
๑๖๙.การดับเหตุแห่งสุขและทุกข์ภายใน
๑๗๐.ความดับทุกข์มี เพราะความดับแห่งนันทิ
๑๗๑.สิ้นนันทิ สิ้นราคะ จิตหลุดพ้น (นัยที่ ๑)
๑๗๒.สิ้นนันทิ สิ้นราคะ จิตหลุดพ้น (นัยที่ ๒)
๑๗๓.เห็นตามความเป็นจริง จึงหลุดพ้น
๑๗๔.การเห็นชนิดที่ละมิจฉาทิฏฐิได้
๑๗๕.การเห็นชนิดที่ละสักกายทิฏฐิได้
๑๗๖.การเห็นชนิดละอัตตานุทิฏฐิได้
๑๗๗.การเห็นเพื่อความหลุดพ้น (นัยที่ ๑)
๑๗๘.การเห็นเพื่อความหลุดพ้น (นัยที่ ๒)
๑๗๙.ลักษณะของผู้ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม
๑๘๐.ธรรมที่สมควรแก่ผู้ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม (นัยที่ ๑)
๑๘๑.ธรรมที่สมควรแก่ผู้ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม (นัยที่ ๒)
๑๘๒.ธรรมอันสมควรแก่กุลบุตรผู้บวชด้วยศรัทธา

การแก้ปัญหา และข้อควรระวัง ขณะปฏิบัติ
๑๘๓.เข้าใจนิวรณ์ ๕
๑๘๔.อาหารของนิวรณ์ ๕
๑๘๕.อาหารของอวิชชา
๑๘๖.อาหารของวิชชาและวิมุตติ
๑๘๗.อาหารของภวตัณหา
๑๘๘.ที่เกิดแห่งอุปธิ
๑๘๙.วิธีแก้ความง่วง
๑๙๐.เครื่องกั้นจิตจากกามคุณในอดีต
๑๙๑.วิธีกำจัดอกุศลวิตก ๕ ประการ
๑๙๒.เมื่อตรึกถึงอารมณ์ใดมาก จิตย่อมน้อมไปโดยอาการอย่างนั้น
๑๙๓.วิธีแก้ความหดหู่ และความฟุ้งซ่านแห่งจิต
๑๙๔.เหตุให้สมาธิเคลื่อน
๑๙๕.การทำสมาธิมีเคล็ดลับ เหมือนโคปีนภูเขาที่ลาดชัน
๑๙๖.ประโยชน์ของการระลึกถึงสิ่งที่ตนเองเลื่อมใส
๑๙๗.ข้อควรระวัง ในการเจริญสติปัฏฐานสี่
๑๙๘.ภิกษุอาชาไนย-ภิกษุกระจอก
๑๙๙.ลักษณะของการอยู่อย่างมีตัณหาเป็นเพื่อน
๒๐๐.ท่อนไม้ที่ลอยออกไปได้ถึงทะเล
๒๐๑.เครื่องกีดขวางการละสัญโญชน์
๒๐๒.ไม่มีผู้อยาก ไม่มีผู้ยึดมั่น

วิธีวัดความก้าวหน้าของการปฏิบัติ
๒๐๓.ความสามารถในการทิ้งอารมณ์ได้เร็ว
๒๐๔.ความสามารถในการละ
๒๐๕.แว่นส่องความเป็นพระโสดาบัน
๒๐๖.ธรรม ๗ ประการ ของผู้ตั้งอยู่ในโสดาปัตติผล
๒๐๗.ฐานะที่เป็นไปไม่ได้ของโสดาบัน (นัยที่ ๑)
๒๐๘.ฐานะที่เป็นไปไม่ได้ของโสดาบัน (นัยที่ ๒)
๒๐๙.ฐานะที่เป็นไปไม่ได้ของโสดาบัน (นัยที่ ๓)
๒๑๐.ฐานะที่เป็นไปไม่ได้ของโสดาบัน (นัยที่ ๔)
๒๑๑.ความหมายของคำว่า เสขะ
๒๑๒.ผู้เป็นเสขะ-อเสขะ
๒๑๓.เหตุให้เป็นคนดุร้าย หรือคนสงบเสงี่ยม
๒๑๔.ธรรมเป็นเครื่องอยู่ของพระอริยะ

ปัจจัยที่ส่งผลต่อ ความเร็วในการบรรลุธรรม
๒๑๕.ปฏิปทาการบรรลุมรรคผล ๔ แบบ
-แบบปฏิบัติลำบาก รู้ได้ช้า
-แบบปฏิบัติลำบาก รู็ได้เร็ว
 -แบบปฏิบัติสบาย รู้ได้ช้า
-แบบปฏิบัติสบาย รู้ได้เร็ว
๒๑๖.อินทรีย์ ๖
๒๑๗.อินทรีย์ ๕ (นัยที่ ๑)
๒๑๘.อินทรีย์ ๕ (นัยที่ ๒)
๒๑๙.อินทรีย์ ๕ (นัยที่ ๓)
๒๒๐.อินทรีย์ ๕ กับ พละ ๕
๒๒๑.ปัจจัยต่อความลดหลั่นของความเป็นอริยบุคคล (นัยที่ ๑)
๒๒๒.ปัจจัยต่อความลดหลั่นของความเป็นอริยบุคคล (นัยที่ ๒)
๒๒๓.สิกขา ๓
๒๒๔.ลักษณะของผู้เป็นธรรมกถึก
๒๒๕.การวางจิตเมื่อถูกเบียดเบียนทางวาจา




1 ความคิดเห็น: